โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร
อาจารย์ประจำสาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กทม.
หัวหน้าทีมงานที่ปรึกษาด้านการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
บริษัท เอซีที.อินเทลลิเจนท์ จำกัด

แต่ปัจจุบันนี้ เป็นยุคของการแข่งขันกันทั้งโลก(World Wide Competition)ที่ผู้ประกอบการควรต้องคิดและปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์ในการผลิตและการจำหน่ายสินค้ากันใหม่ โดยต้องให้ความสำคัญกับฝ่ายสร้างสรรค์และพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้า(Creative and Development Section)กันให้มากขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในการแข่งขันทางการค้าให้กับหน่วย งานของตนเอง หรือเตรียมการไว้ให้เป็นกลยุทธ์ใหม่นอกเหนือไปจากมองการตลาดอย่างเดียว แต่ต้องเหลียวมองหลังตั้งกองทัพให้มั่นคงพร้อมสู้ พร้อมพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง

1.1 สรุปภาพรวมความต้องการของลูกค้า(Identify customer needs)
1.2 ข้อมูลสรุปจากตัวชี้วัดและดัชนีการผลิต (Conduct Bench Marking)
1.3 การประเมินผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันทางการ ค้า(Evaluate Competitor’s Product)
1.4 การตั้งวัตถุประสงค์และเกณฑ์การออกแบบ ผลิตภัณฑ์(Establish and Approve Product Design Specifications):PDS
2.ขั้นการกำหนดมโนทัศน์ผลิตภัณฑ์(Product Concept Generation Stage) เช่น
2.1 การพัฒนามโนทัศน์ทางเลือกสำหรับผลิตภัณฑ์(Develop Alternatives Concept)
2.2 การเลือกมโนทัศน์ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมมากที่สุด (Select Most Suitable Concept)
3.ขั้นการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design Stage)เป็นขั้นตอนการทำงานออกแบบในระดับต่างๆของนักออกแบบ พัฒนาผลิตภัณฑ์ อาทิเช่น

3.2 การสร้างภาพแบบร่างสื่อสาร ความเข้าใจ(Comprehensive Sketch Design) ส่วนใหญ่เป็นการแสดงภาพร่าง
3.3 การออกแบบรายละเอียด (Detail Design)
3.4 การเขียนแบบใช้งาน(Working Drawing)
3.5 การกำหนดส่วนประกอบและวัสดุPart List and Materials Selection
4. ขั้นการผลิต(Production Stage)
4.1 การสร้างแบบจำลอง(Mockup Model Study)
4.2 การสร้างต้นแบบและการทดสอบ(Prototype Production and Testing)
4.3 การผลิตจริงตามสายงานการผลิต(Ongoing Product Production)
5.การสรุปและประเมินผล(Conclusion and Evaluation)
ผลงานการพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ส่วนเสริม(Accessory Parts Prototype) ร่วมใช้งานกับผลิตภัณฑ์หลัก ชื่อชุด "Back & Decor"ผลิตภัณฑ์สำหรับติดตั้งเสริมเพื่อ หนุน รองรับ ปรับ แต่ง ร่วมกับสรีระร่างกายส่วนหลัง และใช้ร่วมตกแต่งกับเก้าอื้-โซฟาของทีมเฟอร์น ผลิตผลที่เกิดจากโครงการบริการเงินสมทบจ้างที่ปรึกษาเพื่อปรับปรุงการผลิต การจัดการ การตลาด และการบริการ(CF) แก่ SMEs ในอุตสาหกรรมไลฟ์สไตล์ ด้านการผลิต การจัดการและการเชื่อมโยงธุรกิจ